คลังสำหรับ 30/05/2016

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๕๐ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำห้วยขุนจิต ในท้องที่ตำบลตะเคียนเตี้ยอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานเพื่อ ให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ.๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยออกกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๕๑ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำลำตะคอง ในท้องที่ตำบลคลองไผ่ อำเภอสีคิ้ว และตำบลจันทึก อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ.๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยออกกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๕๑ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำมูลบน ในท้องที่ตำบลจระเข้หิน จังหวัดนครราชสีมา เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวงพุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๖๒ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำมูลบน ในท้องที่ตำบลจระเข้หิน จังหวัดนครราชสีมา เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวงพุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๖๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานคลองบางขนาก จากคลองแสนแสบ ในท้องที่ตำบลบางน้ำเปรี้ยว อำเภอบางน้ำเปรี้ยวจังหวัดฉะเชิงเทรา ผ่านประตูระบายและประตูน้ำบางขนาก ถึงแม่น้ำบางปะกง ในท้องที่ตำบลบางขนาก อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ทางน้ำชลประทานคลองขวาง – เปร็ง – ชวดพร้าวจากคลองบางขนาก ฝั่งซ้ายของคลองขวาง – เปร็ง – ชวดพร้าว ในท้องที่ตำบลบางน้ำเปรี้ยว อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงทรา ฝั่งขวาของคลองขวาง – เปร็ง – ชวดพร้าวในท้องที่ตำบลโพรงอากาศ อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ถึงคลองพระองค์ไชยานุชิต ในท้องที่ตำบลบางบ่ออำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ทางน้ำชลประทานคลองพระองค์ไชยานุชิต จากคลองบางขนากในท้องที่ตำบลบางน้ำเปรี้ยว อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ถึงประตูระบายและประตูน้ำชลหารพิจิตร ในท้องที่ตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ทางน้ำชลประทานคลองนครเนื่องเขต จากคลองพระองค์ไชยานุชิต ในท้องที่ตำบลศาลาแดง อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ผ่านประตูระบายและประตูน้ำท่าไข่ ถึงแม่น้ำบางปะกง ในท้องที่ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา และทางน้ำชลประทานคลองอุดมชลจร จากคลองนครเนื่องเขต ในท้องที่ตำบลศาลาแดง อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ถึงคลองประเวศบุรีรมย์ ในท้องที่ตำบลคลองอุดมชลจร อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๖๖ (พ.ศ. ๒๕๔๓) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕

หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทาง

น้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำห้วยปรือ ในท้องที่ตำบลเขาพระ อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๖๗ (พ.ศ. ๒๕๔๓) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ : – เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทาน อ่างเก็บน้ำคลองโบด ในท้องที่ตำบลเขาพระ และตำบลพรหมณี อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๖๘ (พ.ศ. ๒๕๔๓) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานเขื่อนเก็บน้ำลำนางรอง ในท้องที่ตำบลโนนดินแดง และตำบลลำนางรองอำเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๖๙ (พ.ศ. ๒๕๔๓) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำคลองมะนาว ในท้องที่ตำบลโนนดินแดง และตำบลลำนางรองอำเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง