กฏหมายลูกพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484

รายการกฎหมายลูก


พระราชบัญญัติ (ฉบับย้อนหลัง)
  • พระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 (ฉบับ Update ณ วันที่ 30/09/2546)
    หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ และพระราชกฤษฎีกาโอนกิจการบริหารและอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้กำหนดให้กรมป่าไม้เป็นส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และให้กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืชเป็นส่วนราชการในสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม…
  • ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 106/2557 เรื่อง แก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยป่าไม้
    ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐๖/๒๕๕๗ เรื่อง แก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยป่าไม้[๑]                    โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยป่าไม้ เพื่อปรับปรุงให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน คณะรักษาความสงบแห่งชาติจึงมีประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑  ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช ๒๔๘๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ ๕)…
  • พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 พ.ศ. 2532
    หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกำหนดฉบับนี้ คือ โดยที่ปัจจุบันสภาพป่าไม้ของประเทศได้ถูกทำลายจนทำให้สภาพแวดล้อมตามธรรมชาติขาดความสมดุล อันจะยังผลให้ภัยพิบัติสาธารณะดังเช่นที่เกิดขึ้นในจังหวัดภาคใต้เมื่อเดือนพฤศจิกายน ๒๕๓๑ อาจเกิดขึ้นอีกได้ จำเป็นต้องระงับยับยั้งมิให้มีการทำไม้ออกจากป่าและเร่งรัดฟื้นฟูสภาพป่าขึ้นโดยเร็ว แต่โดยที่พระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช ๒๔๘๔ มิได้ให้อำนาจแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐในอันที่จะยับยั้งการทำไม้ออกจากป่าที่ได้เปิดการทำไม้โดยให้สัมปทานไปแล้วได้ ดังนั้น จึงจำเป็นที่จะต้องให้อำนาจดังกล่าวแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ รวมทั้งการกำหนดให้สัมปทานที่มีพื้นที่อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติหรือเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสิ้นสุดลง ทั้งนี้ โดยให้ผู้รับสัมปทานที่สัมปทานต้องสิ้นสุดลงด้วยเหตุดังกล่าวมีสิทธิได้รับเงินชดเชยความเสียหายภายในขอบเขตที่กำหนดไว้ โดยคำนึงถึงความเป็นธรรมทั้งแก่ประโยชน์ของส่วนรวมและประโยชน์ของเอกชน และโดยที่เป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นรีบด่วนในอันที่จะรักษาความปลอดภัยสาธารณะและเพื่อป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ…
  • พระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 (Update ณ วันที่ 05/03/2525)
    หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากว่าขณะนี้ เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า ยังมีประชาชนในชนบทอีกจำนวนไม่น้อยที่ไม่มีเงินจะไปซื้อไม้และอุปกรณ์ต่าง ๆ มาสร้างบ้านอยู่อาศัย ก็เนื่องจากความยากจนเป็นเหตุ จึงได้กระทำผิดไปด้วยความจำเป็น โดยไปตัดไม้ในป่ามาสร้างบ้านของตนเองบ้าง ซ่อมแซมบ้านของตนเองบ้าง มิฉะนั้นแล้วก็ไม่มีบ้านอยู่อาศัยหรือมีไม้ไว้ในความครอบครองเล็ก ๆ น้อย ๆ เพื่อซ่อมแซมบ้านก็ดี หรือมีไม้ไว้เพื่อทำเครื่องใช้ไม้สอยต่าง ๆ…
  • พระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2525
    พระราชบัญญัติ ป่าไม้ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๒๕                    ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๕ เป็นปีที่ ๓๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช…
  • พระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 (Update ณ วันที่ 28/04/2522)
    พระราชบัญญัติ ป่าไม้ พุทธศักราช ๒๔๘๔                    ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร ลงวันที่ ๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๐) อาทิตย์ทิพอาภา พล.อ.พิชเยนทรโยธิน ตราไว้ ณ วันที่ ๑๔ ตุลาคม…
  • พระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2522
    พระราชบัญญัติ ป่าไม้ (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๒๒                    ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๒ เป็นปีที่ ๓๔ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช…
  • พระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 (Update ณ วันที่ 09/01/2518)
    หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้คือ เนื่องจากกฎหมายว่าด้วยป่าไม้บางมาตรามีข้อความไม่รัดกุม และไม่เหมาะสมกับกาลสมัย สมควรแก้ไขเพิ่มเติมให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อคุ้มครองและบำรุงรักษาป่าไม้อันเป็นทรัพยากรธรรมชาติให้ได้ผลดียิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้น
  • พระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2518
    หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้คือ เนื่องจากกฎหมายว่าด้วยป่าไม้บางมาตรามีข้อความไม่รัดกุม และไม่เหมาะสมกับกาลสมัย สมควรแก้ไขเพิ่มเติมให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อคุ้มครองและบำรุงรักษาป่าไม้อันเป็นทรัพยากรธรรมชาติให้ได้ผลดียิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้น
  • พระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช2484 (Update ณ วันที่ 11/04/2515)
    หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช ๒๔๘๔ บางมาตรา มีข้อความไม่รัดกุมเหมาะสมกับกาลสมัย โดยเฉพาะบทกำหนดโทษ กำหนดไว้ต่ำมากไม่ทำให้ผู้กระทำผิดเกรงกลัว หรือเข็ดหลาบ เป็นช่องทางให้มีการลักลอบตัดฟันไม้ทำลายป่ารวมทั้งลักลอบทำการแผ้วถางป่ามากขึ้น เพราะไม้หรือของป่าทุกชนิดมีราคาสูงขึ้นจึงเป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมเสียใหม่ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อเป็นการป้องกันการทำลายป่าไม้ อันเป็นทรัพยากรของชาติ ให้มีสภาพอันจะอำนวยประโยชน์แก่รัฐและประชาชนด้วยดีสืบไป
  • พระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 (Update ณ วันที่ 25/07/2503)
    หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช ๒๔๘๔ บางมาตรา มีข้อความไม่รัดกุมเหมาะสมกับกาลสมัย โดยเฉพาะบทกำหนดโทษ กำหนดไว้ต่ำมากไม่ทำให้ผู้กระทำผิดเกรงกลัว หรือเข็ดหลาบ เป็นช่องทางให้มีการลักลอบตัดฟันไม้ทำลายป่ารวมทั้งลักลอบทำการแผ้วถางป่ามากขึ้น เพราะไม้หรือของป่าทุกชนิดมีราคาสูงขึ้นจึงเป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมเสียใหม่ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อเป็นการป้องกันการทำลายป่าไม้ อันเป็นทรัพยากรของชาติ ให้มีสภาพอันจะอำนวยประโยชน์แก่รัฐและประชาชนด้วยดีสืบไป
  • พระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2503
    หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช ๒๔๘๔ บางมาตรา มีข้อความไม่รัดกุมเหมาะสมกับกาลสมัย โดยเฉพาะบทกำหนดโทษ กำหนดไว้ต่ำมากไม่ทำให้ผู้กระทำผิดเกรงกลัว หรือเข็ดหลาบ เป็นช่องทางให้มีการลักลอบตัดฟันไม้ทำลายป่า รวมทั้งลักลอบทำการแผ้วถางป่ามากขึ้น เพราะไม้หรือของป่าทุกชนิดมีราคาสูงขึ้น จึงเป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมเสียใหม่ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อเป็นการป้องกันการทำลายป่าไม้ อันเป็นทรัพยากรของชาติ ให้มีสภาพอันจะอำนวยประโยชน์แก่รัฐและประชาชนด้วยดีสืบไป
  • พระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 (Update ณ วันที่ 17/07/2494)
    พระราชบัญญัติ ป่าไม้ พุทธศักราช ๒๔๘๔                    ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร ลงวันที่ ๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๐) อาทิตย์ทิพอาภา พล.อ.พิชเยนทรโยธิน ตราไว้ ณ วันที่ ๑๔ ตุลาคม…
  • พระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2494
    พระราชบัญญัติ ป่าไม้ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๔๙๔ ในพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๔ เป็นปี ๖…
  • พระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 (Update ณ วันที่ 30/11/2491)
    พระราชบัญญัติ ป่าไม้ พุทธศักราช ๒๔๘๔                    ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร ลงวันที่ ๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๐) อาทิตย์ทิพอาภา พล.อ.พิชเยนทรโยธิน ตราไว้ ณ วันที่ ๑๔ ตุลาคม…
  • พระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2491
    พระราชบัญญัติ ป่าไม้ (ฉะบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๙๑                    ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช คณะอภิรัฐมนตรี ในหน้าที่คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์                                                   รังสิต กรมขุนชัยนาทนเรนทร                              …
  • พระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484
    พระราชบัญญัติ ป่าไม้ พุทธศักราช ๒๔๘๔                    ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร ลงวันที่ ๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๐) อาทิตย์ทิพอาภา พล.อ.พิชเยนทรโยธิน ตราไว้ ณ วันที่ ๑๔ ตุลาคม…
พระราชกฤษฎีกา
  • พระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม พ.ศ. 2530
    หมายเหตุ :- เหตุผลโดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการกำหนดไม้หวงห้ามเสียใหม่ ให้ใช้บังคับในท้องที่ทุกจังหวัดทั่วราชอาณาจักร เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมไม้หวงห้ามไม่สับสนยุ่งยากและได้ผลดียิ่งขึ้น ประกอบกับในปัจจุบันไม้บางชนิดที่มิได้กำหนดเป็นไม้หวงห้ามมาก่อนกลับเป็นไม้มีค่าหายากและนิยมนำออกโดยไม่คำนึงถึงความเสียหายของพันธุ์ไม้ ดังนั้น เพื่อมิให้ไม้ชนิดดีมีค่าหายากเป็นอันตรายหรือสูญสิ้นไป สมควรกำหนดให้ไม้บางชนิดเป็นไม้หวงห้ามรวมทั้งเปลี่ยนแปลงประเภทไม้หวงห้ามบางชนิดที่ได้กำหนดไว้แล้วเสียใหม่ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบัน จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้
  • พระราชกฤษฎีกากำหนดของป่าหวงห้าม พ.ศ. 2530
    หมายเหตุ:-เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับที่ คือ โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงพระราช กฤษฎีกากำหนดของป่าหวงห้ามเสียใหม่ ให้ใช้บังคับในท้องที่ทุกจังหวัดทั่วราชอาณาจักร และเนื่องจากการ กำหนดของป่าหวงห้ามแต่เดิมไม่ตรงกับข้อเท็จจริงและทางด้านวิชาการ ทำให้เป็นปัญหาในทางปฏิบัติและ ข้อกฎหมาย ประกอบกับในปัจจุบัน ของป่าบางชนิดที่มิได้กำหนดให้เป็นของป่าหวงห้ามก่อนกลับเป็นของป่า มีค่าหายยาก ซึ่งนิยมเก็บหาและนำออกมาเป็นปริมาณมากโดยไม่คำนึงถึงความเสียหายของแหล่งกำเนิด ของป่า ดังนั้น เพื่อประโยชน์ในการควบคุมบำรุงรักษาบรรดาของป่าทั้งหลายสืบไป จึงจำเป็นต้องตราพระ ราชกฤษฎีกานี้
  • พระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม พ.ศ. 2530
    หมายเหตุ:-เหตุผลโดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการกำหนดไม้หวงห้ามเสียใหม่ ให้ใช้บังคับในท้องที่ทุกจังหวัดทั่วราชอาณาจักร เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการ ควบคุมไม้หวงห้ามไม่สับสนยุ่งยากและได้ผลดียิ่งขึ้น ประกอบกับในปัจจุบันไม้บางชนิดที่มิได้กำหนดเป็นไม้ หวงห้ามมาก่อนกลับเป็นไม้มีค่ายากและนิคมนำออกโดยไม่คำนึงถึงความเสียหายของพันธุ์ไม้ ดังนั้น เพื่อ มิให้ไม้ชนิดดีมีค่าหายากเป็นอันตรายหรือสูญสิ้นไปสมควรกำหนดให้ไม้บางชนิดเป็นไม้หวงห้ามรวมทั้งเปลี่ยน แปลงประเภทไม้หวงห้ามบางชนิดที่ได้กำหนดไว้แล้วเสียใหม่ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบัน จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้
  • พระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2520
    หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากไม้ไผ่เป็นวัตถุดิบที่สำคัญ สำหรับอุตสาหกรรมผลิตเยื่อกระดาษ ควรกำหนดให้ไม้ดังกล่าวเป็นไม้หวงห้ามในบางท้องที่ เพื่อการ อนุญาตหรือให้สัมปทานสำหรับอุตสาหกรรมประเภทนี้ อันจะเป็นการส่งเสริมการลงทุนเพื่อการอุตสาหกรรม ผลิตเยื่อกระดาษให้กว้างขวางยิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้ขึ้น
  • พระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2517
    หมายเหตุ:-เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากชื่อไม้หวงห้ามตามบัญชีท้ายพระ ราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2510 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกากำหนด ไม้หวงห้าม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2517 บางชื่อไม่ครอบคลุมถึงไม้ชนิดที่ทางราชการประสงค์จะควบคุมและ บางชื่อไม่ถูกต้อง สมควรแก้ไขเพิ่มเติมให้ครอบคลุมถึงไม้ชนิดที่ทางราชการประสงค์จะควบคุม และให้ถูก ต้อง จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ขึ้น
  • พระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2517
    มายเหตุ:-เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากเห็นสมควรกำหนดให้ไม้ ปอกะเจียน หรือกะเจียน หรือหมากแฮด หรืออีแรด และไม้แสนตาล้อม ในท้องที่จังหวัดต่าง ๆ ใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และไม้ขะเจ๊าะ หรือสาธร หรือกะพี้เขาควาย ในท้องที่จังหวัดต่าง ๆ ใน ภาคใต้ เป็นไม้หวงห้ามประเภท…
  • พระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2510
    หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ ตามที่ได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนด ไม้หวงห้าม พ.ศ. 2505 แล้วนั้น บัดนี้ปรากฏว่า ยังมีไม้บางชนิดมีคุณภาพดี บางชนิดมีราคาสูง และ บางชนิดก็หายาก ซึ่งมีบุคคลนิยมทำออกมา เพื่อการค้า หรือประกอบการอุตสาหกรรม และการทำไม้ ดังกล่าวนี้ได้กระทำไปโดยมุ่งหวังที่จะได้ไม้เป็นปริมาณมาก หาได้คำนึงถึงความเสียหายของพันธุ์ไม้แต่ อย่างใดไม่…
  • พระราชกฤษฎีกากำหนดของป่าหวงห้าม พ.ศ. 2505
    หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากของป่าบาง ชนิดมีคุณภาพดี บางชนิดมีราคาสูงและบางชนิดก็หายากซึ่งมีบุคคลนิยมเก็บหานำ ออกมาเพื่อการค้าหรือประกอบการอุตสาหกรรมเป็นปริมาณมาก และการเก็บหาของป่า ดังกล่าวนี้ ได้กระทำไปโดยมุ่งหวังที่จะได้ของป่าเป็นปริมาณมากแต่อย่างเดียว หาได้คำนึงถึงความเสียหายแก่พืชพันธุ์แห่งของป่าแต่อย่างใดไม่ เป็นเหตุให้ ต้นไม้อันเป็นแหล่งกำเนิดของป่านนเป็นอันตราย หรือเสื่อมสลายสูญสิ้นพันธุ์ไป จึงเป็นการจำเป็นและสมควรที่จะกำหนดของป่าหวงห้ามในท้องที่จังหวัดต่าง ๆ เสีย ใหม่ เพื่อประโยชน์ในการควบคุมบำรุงรักษาพืชพันธุ์แห่งของป่าสืบไป
  • พระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม พ.ศ.2505
    หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากของป่าบางชนิดมีคุณ ภาพดี บางชนิดมีราคาสูงและบางชนิดก็หายาก ซึ่งมีบุคคลนิยมเก็บหานำออกมาเพื่อการค้าหรือ ประกอบการอุตสาหกรรมเป็นปริมาณมาก และการเก็บหาของป่าดังกล่าวนี้ ได้กระทำไปโดยมุ่งหวังที่จะ ได้ของป่าเป็นปริมาณมากแต่อย่างเดียว หาได้คำนึงถึงความเสียหายแก่พืชพันธุ์แห่งของป่าแต่อย่างใด ไม่ เป็นเหตุให้ต้นไม้อันเป็นแหล่งกำเนิดของป่านั้นเป็นอันตราย หรือเสื่อมสลายสูญพันธุ์ไป จึงเป็น การจำเป็นและสมควรที่จะกำหนดของป่าหวงห้ามในท้องที่จังหวัดต่าง ๆ เสียใหม่ เพื่อประโยชน์ใน…
  • พระราชกฤษฎีกาเพิกถอนของป่าหวงห้ามบางชนิด พ.ศ. 2501
    หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากในท้องที่ จังหวัดกาญจนบุรี ได้กำหนดไม้ไผ่และไม้รวกทุกชนิดเป็นของป่าหวงห้ามไว้ตามพระราช กฤษฎีกากำหนดของป่าหวงห้าม พ.ศ.2497 เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ราษฎร ในท้องที่จังหวัดกาญจนบุรี จะได้ใช้ไม้ไผ่และไม่รวกมาทำการปลูกสร้างบ้านเรือนอยู่อาศัย หรือทำรั้วเพื่อป้องกันภยันตรายหรือใช้ทำประโยชน์อย่างอื่นๆ โดยไม่ต้องรับอนุญาตและ ไม่ต้องเสียค่าภาคหลวงอีกต่อไป สมควรที่จะเพิกถอนไม่ไผ่และไม่รวกทุกชนิดซึ่งกำหนด เป็นของหวงห้ามในท้องที่จังหวัดกาญจนบุรี ตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวนั้นเสีย
  • พระราชกฤษฎีกากำหนดของป่าหวงห้าม พ.ศ. 2497
    หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากของป่าบางชนิดมีคุณภาพ ดี บางชนิดมีราคาสูง และบางชนิดก็หายาก ซึ่งมีบุคคลนิยมเก็บหานำออกมาเพื่อการค้าหรือประกอบ การอุตสาหกรรมเป็นปริมาณมาก และการเก็บหาของป่าดั่งกล่าวนี้ได้กระทำไปโดยมุ่งหวังที่จะได้ของป่า เป็นปริมาณมากแต่ถ่ายเดียว หาได้คำนึงถึงความเสียหายแก่พืชพันธุ์แห่งของป่าแต่อย่างใดไม่ เช่น ใช้วิธี การเก็บหาของป่าซึ่งขัดต่อหลักวิชาการ ทั้งนี้ เพื่อความสดวกหรือมุ่งหวังที่จะได้ของป่านั้นเป็นปริมาณ มากจนเกินกำลังแห่งการยังผล อันเป็นไปตามธรรมชาติแห่งป่าไม้ เป็นเหตุให้ต้นไม้อันเป็นแหล่งกำเนิด…
  • พระราชกฤษฎีกากำหนดของป่าหวงห้าม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2494
    พระราชกฤษฎีกา กำหนดของป่าหวงห้าม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๙๔ ---------------                                                              ในพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ธานีวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๔…
  • พระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม พุทธศักราช 2485
    พระราชกฤษฎีกา กำหนดไม้หวงห้าม พุทธศักราช ๒๔๘๕ -------------                                     ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล                                                 คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์                                           (ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร                                            ลงวันที่ ๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๐                                    …
  • พระราชกฤษฎีกากำหนดของป่าหวงห้าม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.2494
    พระราชกฤษฎีกา กำหนดของป่าหวงห้าม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๙๔ -------------                                                             ในพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ธานีนิวัต  กรมหมื่นพิทยาลาภพฤฒิยากร ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๔…
  • พระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม พ.ศ. 2497
    หมายเหตุ:-เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้คือเนื่องจากไม้บางชนิดมีคุณภาพดี บางชนิดมีราคาสูง และบางชนิดก็หายากซึ่งมีบุคคลนิยมทำออกมาเพื่อการค้า หรือประกอบการ อุตสาหกรรมเป็นปริมาณมาก และการทำไม้ดังกล่าวนี้ได้กระทำไปโดยมุ่งหวังที่จะได้ไม้เป็นปริมาณ มากแต่ฝ่ายเดียว หาได้คำนึงถึงความเสียหายของพรรณไม้แต่อย่างใดไม่ เช่น ตัดฟันไม้ทุกชนิด และทุกขนาดอันขัดต่อหลักวิชาการ ทั้งนี้เพื่อความสะดวกหรือมุ่งหวังที่จะได้ไม้ออกมาเป็นสินค้า เป็นปริมาณมากจนเกินกำลังแห่งการยังผล อันเป็นไปตามธรรมชาติแห่งป่าไม้ เป็นเหตุให้ไม้ ชนิดดีมีค่า หรือหายากเป็นอันตรายหรือเสื่อมสลายพันธุ์ไป จึงจำเป็นและสมควรที่จะกำหนดไม้ หวงห้ามในท้องที่บางจังหวัดเสียใหม่ เพื่อประโยชน์ในการควบคุมบำรุงรักษาป่าไม้อันเป็นสาธารณ…
  • พระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม พ.ศ. 2494
    ตราพระบรมราชโองการ พระราชกฤษฎีกา กำหนดไม้หวงห้าม พ.ศ. 2494 -------------                         ในพระปรมาภิไธย            พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช               ธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร                   ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์             ให้ไว้ ณ วันที่ 3…
กฎกระทรวง
ประกาศ
ระเบียบ
  • ระเบียบกรมป่าไม้ว่าด้วยการนำไม้หรือของป่าเคลื่อนที่ พ.ศ. ๒๕๕๒
    ระเบียบกรมป่าไม้ ว่าด้วยการนำไม้หรือของป่าเคลื่อนที่ พ.ศ. ๒๕๕๒                                         โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบกรมป่าไม้ ว่าด้วยการนำไม้หรือของป่าเคลื่อนที่ พ.ศ. ๒๕๔๕ ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๖…
  • ระเบียบกรมป่าไม้ว่าด้วยการนำไม้หรือของป่าเคลื่อนที่ พ.ศ. ๒๕๔๕
    ระเบียบกรมป่าไม้ ว่าด้วยการนำไม้หรือของป่าเคลื่อนที่ พ.ศ. ๒๕๔๕                         โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบกรมป่าไม้ ว่าด้วย การนำไม้หรือของป่าเคลื่อนที่ พ.ศ. ๒๕๓๒ ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับ กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมป่าไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๕ กรมป่าไม้จึงวางระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้   ข้อ ๑ …