กฏหมายลูกพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496
รายการกฎหมายลูก
พระราชบัญญัติ (ฉบับย้อนหลัง)
-
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 336
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๓๓๖ โดยที่คณะปฏิวัติพิจารณาเห็นว่า เทศบาลเป็นหน่วยบริหารราชการของท้องถิ่น ควรจะได้ปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ และมุ่งขจัดปัญหาความเดือดร้อนบำบัดทุกข์บำรุงสุขของประชาชนอย่างแท้จริง จึงมีความจำเป็นที่จะต้องแก้ไขปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยเทศบาลบางมาตราให้รัดกุมและชัดเจนยิ่งขึ้น หัวหน้าคณะปฏิวัติจึงมีคำสั่งดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความในมาตรา…
-
พระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้กำหนดหลักการในการจัดระเบียบการปกครองส่วนท้องถิ่นขึ้นใหม่เพื่อให้เป็นไปตามหลักแห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น จึงสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยเทศบาลในส่วนของวาระการดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาเทศบาล ข้อห้ามและการสิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิกสภาเทศบาล การพ้นจากตำแหน่งเทศมนตรีและคณะเทศมนตรี การยุบสภาเทศบาล รวมทั้งอำนาจหน้าที่ของเทศบาลให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญดังกล่าว จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
-
พระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยกำหนดให้คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนหรือมาจากความเห็นชอบของสภาท้องถิ่น และการเลือกตั้งคณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนให้ใช้วิธีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ สมควรปรับปรุงรูปแบบการบริหารเทศบาลจากที่เป็นอยู่ในปัจจุบันที่ให้นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกกันเองของสมาชิกสภาเทศบาล เป็นให้นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งของราษฎรในเขตเทศบาล เพื่อให้ราษฎรได้มีส่วนร่วมในการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของราษฎรในท้องถิ่นโดยตรง นอกจากนี้ สมควรปรับปรุงการปฏิบัติงานของสภาเทศบาลให้เหมาะสมและสอดคล้องกันด้วย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
-
พระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2546
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ กำหนดรูปแบบการบริหารเทศบาลเป็นสองรูปแบบ คือ รูปแบบคณะเทศมนตรีและรูปแบบนายกเทศมนตรีเพื่อให้การบริหารเทศบาลเป็นไปในรูปแบบเดียวกัน โดยให้นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนและเพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นประกอบกับมีบทบัญญัติบางมาตรายังไม่เหมาะสมกับการบริหารงานของเทศบาล เพื่อให้การบริหารงานของเทศบาลเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
-
พระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๕๒
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติเทศบาล มีบทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสภาวะในปัจจุบันเป็นการจำกัดสิทธิของประชาชน ทั้งสิทธิของผู้สมัครรับเลือกตั้งและสิทธิของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง สมควรเปิดกว้างให้เป็นดุลพินิจของประชาชนโดยเสรี จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
-
พระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๙๘
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ซึ่งใช้บังคับอยู่ในเวลานี้บางมาตรายังไม่เหมาะสม เช่น ให้เทศบาลกู้เงินได้เฉพาะจากกระทรวงทบวงกรมหรือองค์การต่าง ๆ เท่านั้น และบางกรณีก็มิได้กำหนดความรับผิดชอบผูกพันการชำระเงินกู้ที่กระทรวงการคลังค้ำประกันไว้ให้แน่นอน จึงจำเป็นต้องปรับปรุงเพื่อให้เหมาะสมและรัดกุมยิ่งขึ้น
-
พระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๔๙๙
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากสมควรที่จะยกเลิกสมาชิกสภาเทศบาลประเภทที่สอง เพื่อให้มีแต่สมาชิกสภาเทศบาลซึ่งราษฎรเป็นผู้เลือกตั้งแต่ประเภทเดียว กับแก้ไขเพิ่มเติมไม่ต้องให้มีการแต่งตั้งผู้มีคุณสมบัติ และวิทยฐานะเป็นสมาชิกสภาเทศบาลในฐานะเป็นผู้เริ่มการสำหรับท้องถิ่นที่เป็นสุขาภิบาลอยู่ก่อนแล้วจัดตั้งขึ้นเป็นเทศบาล เพราะท้องถิ่นที่เป็นสุขาภิบาลอยู่ก่อนแล้วนั้นได้มีการปฏิบัติหน้าที่ของท้องถิ่นต่อเนื่องกันมาโดยมีกรรมการเลือกตั้งจากราษฎรเข้าสมทบเป็นกรรมการสุขาภิบาลอยู่แล้ว จึงไม่จำเป็นต้องให้มีสมาชิกสภาเทศบาลในฐานะเป็นผู้เริ่มการอีก นอกจากนี้การเปลี่ยนชื่อเทศบาลยังไม่มีบทบัญญัติระบุไว้ชัดแจ้งว่าจะกระทำได้โดยวิธีใดเพื่อไม่ให้มีปัญหาจึงสมควรจะได้มีบทบัญญัติไว้เสียให้ชัดว่า การเปลี่ยนชื่อเทศบาลให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา จึงจำเป็นต้องแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ บางมาตรา
-
พระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๐๕
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เพื่อแก้ไขข้อขัดข้องทางปฏิบัติตามพระราชบัญญัติเทศบาล และเพื่อกำหนดรายจ่ายของเทศบาลให้สอดคล้องกับหลักการงบประมาณ
-
พระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๑๐
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ยังมีข้อขัดข้องเกี่ยวกับการมอบหมายอำนาจของคณะเทศมนตรีและนายกเทศมนตรีในการปฏิบัติงานประจำทั้งการเปรียบเทียบคดีละเมิดเทศบัญญัติและอัตราค่าปรับคดีละเมิดเทศบัญญัติก็ยังไม่อยู่ในระดับที่สมควร จึงเห็นสมควรแก้ไขพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ดังนี้
-
พระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๑๑
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ซึ่งใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันเทศบาลยังไม่อาจจัดทำกิจการในหน้าที่บางอย่างนอกเขตเทศบาล หรือลงทุนร่วมกับราชการส่วนท้องถิ่นหรือบุคคลอื่นได้ ฉะนั้น เพื่อให้เทศบาลดำเนินกิจการดังกล่าวให้เป็นประโยชน์แก่ประชาชนในท้องถิ่นยิ่งขึ้น จึงต้องแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยเทศบาลบางมาตราเสียใหม่
-
พระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๑๗
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ได้กำหนดหน้าที่ต่าง ๆ ให้เทศบาลต้องจัดทำภายในเขตเทศบาล แต่กิจการบางอย่างที่เป็นประโยชน์แก่ประชาชนผู้ยากจน คือกิจการโรงรับจำนำและกิจการสถานสินเชื่อเทศบาลยังมิได้มีหน้าที่ที่จำต้องจัดทำขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้ และโดยที่พิจารณาเห็นว่ากิจการโรงรับจำนำและกิจการสถานสินเชื่อธนาภิบาลเป็นแหล่งที่อำนวยช่วยเหลือประชาชนผู้ยากจนในกรณีที่มีความจำเป็นเกี่ยวกับการเงินเพื่อยังชีพของครอบครัว สมควรกำหนดให้เทศบาลมีหน้าที่ต้องจัดให้มีการดำเนินกิจการโรงรับจำนำหรือกิจการสถานสินเชื่อธนาภิบาลภายในเขตเทศบาลเมืองและเทศบาลนครทุกแห่งเพื่อช่วยเหลือประชาชนผู้ยากจนต่อไป จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้น
-
พระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๒๓
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากในปัจจุบันนี้ กิจการงานของเทศบาลเมืองได้เพิ่มภาระและความรับผิดชอบต่อสังคมมากขึ้น เนื่องจากการคมนาคม การเศรษฐกิจ การศึกษา การผังเมืองการสาธารณูปโภค และการบริการแก่สาธารณะ แต่จำนวนเทศมนตรีของเทศบาล ยังมีจำนวน ๒ คน เท่ากับเทศบาลตำบลที่กำหนดไว้ในมาตรา ๔๙ ความรับผิดชอบในภาระต่าง ๆ ปัจจุบันเท่ากับเทศบาลนครซึ่งมีเทศมนตรีถึง…
-
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
พระราชบัญญัติ เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๖ เป็นปีที่ ๘ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า…
-
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยกำหนดให้คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนหรือมาจากความเห็นชอบของสภาท้องถิ่น และการเลือกตั้งคณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนให้ใช้วิธีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ สมควรปรับปรุงรูปแบบการบริหารเทศบาลจากที่เป็นอยู่ในปัจจุบันที่ให้นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกกันเองของสมาชิกสภาเทศบาล เป็นให้นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งของราษฎรในเขตเทศบาล เพื่อให้ราษฎรได้มีส่วนร่วมในการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของราษฎรในท้องถิ่นโดยตรง นอกจากนี้ สมควรปรับปรุงการปฏิบัติงานของสภาเทศบาลให้เหมาะสมและสอดคล้องกันด้วย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
-
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
พระราชบัญญัติ เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๖ เป็นปีที่ ๘ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า…
-
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้กำหนดหลักการในการจัดระเบียบการปกครองส่วนท้องถิ่นขึ้นใหม่เพื่อให้เป็นไปตามหลักแห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น จึงสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยเทศบาลในส่วนของวาระการดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาเทศบาล ข้อห้ามและการสิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิกสภาเทศบาล การพ้นจากตำแหน่งเทศมนตรีและคณะเทศมนตรี การยุบสภาเทศบาล รวมทั้งอำนาจหน้าที่ของเทศบาลให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญดังกล่าว จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
-
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากในปัจจุบันนี้ กิจการงานของเทศบาลเมืองได้เพิ่มภาระและความรับผิดชอบต่อสังคมมากขึ้น เนื่องจากการคมนาคม การเศรษฐกิจ การศึกษา การผังเมืองการสาธารณูปโภค และการบริการแก่สาธารณะ แต่จำนวนเทศมนตรีของเทศบาล ยังมีจำนวน ๒ คน เท่ากับเทศบาลตำบลที่กำหนดไว้ในมาตรา ๔๙ ความรับผิดชอบในภาระต่าง ๆ ปัจจุบันเท่ากับเทศบาลนครซึ่งมีเทศมนตรีถึง…
-
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ บางมาตรายังไม่เหมาะสม โดยเฉพาะในเรื่องที่เกี่ยวกับการพิจารณาร่างเทศบัญญัติงบประมาณ ได้กำหนดให้ผู้ว่าราชการจังหวัดต้องส่งร่างเทศบัญญัติที่สภาเทศบาลไม่รับหลักการ และผู้ว่าราชการจังหวัดไม่เห็นชอบด้วยกับสภาเทศบาลที่ไม่รับหลักการ เพื่อให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยพิจารณา ซึ่งทำให้เกิดความล่าช้าและไม่คล่องตัวในการบริหารงานท้องถิ่น สมควรแก้ไขให้เหมาะสม จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้น
-
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ซึ่งใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันเทศบาลยังไม่อาจจัดทำกิจการในหน้าที่บางอย่างนอกเขตเทศบาล หรือลงทุนร่วมกับราชการส่วนท้องถิ่นหรือบุคคลอื่นได้ ฉะนั้น เพื่อให้เทศบาลดำเนินกิจการดังกล่าวให้เป็นประโยชน์แก่ประชาชนในท้องถิ่นยิ่งขึ้น จึงต้องแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยเทศบาลบางมาตราเสียใหม่
-
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ซึ่งใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันเทศบาลยังไม่อาจจัดทำกิจการในหน้าที่บางอย่างนอกเขตเทศบาล หรือลงทุนร่วมกับราชการส่วนท้องถิ่นหรือบุคคลอื่นได้ ฉะนั้น เพื่อให้เทศบาลดำเนินกิจการดังกล่าวให้เป็นประโยชน์แก่ประชาชนในท้องถิ่นยิ่งขึ้น จึงต้องแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยเทศบาลบางมาตราเสียใหม่
-
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ยังมีข้อขัดข้องเกี่ยวกับการมอบหมายอำนาจของคณะเทศมนตรีและนายกเทศมนตรีในการปฏิบัติงานประจำทั้งการเปรียบเทียบคดีละเมิดเทศบัญญัติและอัตราค่าปรับคดีละเมิดเทศบัญญัติก็ยังไม่อยู่ในระดับที่สมควร จึงเห็นสมควรแก้ไขพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ดังนี้
-
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เพื่อแก้ไขข้อขัดข้องทางปฏิบัติตามพระราชบัญญัติเทศบาล และเพื่อกำหนดรายจ่ายของเทศบาลให้สอดคล้องกับหลักการงบประมาณ
-
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากสมควรที่จะยกเลิกสมาชิกสภาเทศบาลประเภทที่สอง เพื่อให้มีแต่สมาชิกสภาเทศบาลซึ่งราษฎรเป็นผู้เลือกตั้งแต่ประเภทเดียว กับแก้ไขเพิ่มเติมไม่ต้องให้มีการแต่งตั้งผู้มีคุณสมบัติ และวิทยฐานะเป็นสมาชิกสภาเทศบาลในฐานะเป็นผู้เริ่มการสำหรับท้องถิ่นที่เป็นสุขาภิบาลอยู่ก่อนแล้วจัดตั้งขึ้นเป็นเทศบาล เพราะท้องถิ่นที่เป็นสุขาภิบาลอยู่ก่อนแล้วนั้นได้มีการปฏิบัติหน้าที่ของท้องถิ่นต่อเนื่องกันมาโดยมีกรรมการเลือกตั้งจากราษฎรเข้าสมทบเป็นกรรมการสุขาภิบาลอยู่แล้ว จึงไม่จำเป็นต้องให้มีสมาชิกสภาเทศบาลในฐานะเป็นผู้เริ่มการอีก นอกจากนี้การเปลี่ยนชื่อเทศบาลยังไม่มีบทบัญญัติระบุไว้ชัดแจ้งว่าจะกระทำได้โดยวิธีใดเพื่อไม่ให้มีปัญหาจึงสมควรจะได้มีบทบัญญัติไว้เสียให้ชัดว่า การเปลี่ยนชื่อเทศบาลให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา จึงจำเป็นต้องแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ บางมาตรา
-
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ซึ่งใช้บังคับอยู่ในเวลานี้บางมาตรายังไม่เหมาะสม เช่น ให้เทศบาลกู้เงินได้เฉพาะจากกระทรวงทบวงกรมหรือองค์การต่าง ๆ เท่านั้น และบางกรณีก็มิได้กำหนดความรับผิดชอบผูกพันการชำระเงินกู้ที่กระทรวงการคลังค้ำประกันไว้ให้แน่นอน จึงจำเป็นต้องปรับปรุงเพื่อให้เหมาะสมและรัดกุมยิ่งขึ้น
-
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ กำหนดรูปแบบการบริหารเทศบาลเป็นสองรูปแบบ คือ รูปแบบคณะเทศมนตรีและรูปแบบนายกเทศมนตรีเพื่อให้การบริหารเทศบาลเป็นไปในรูปแบบเดียวกัน โดยให้นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนและเพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นประกอบกับมีบทบัญญัติบางมาตรายังไม่เหมาะสมกับการบริหารงานของเทศบาล เพื่อให้การบริหารงานของเทศบาลเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
-
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
พระราชบัญญัติ เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๖ เป็นปีที่ ๘ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ…
-
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
พระราชบัญญัติ เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๖ เป็นปีที่ ๘ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า…
พระราชกฤษฎีกา
-
พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตเทศบาลตำบลเวียงพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๕๔๕
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากองค์การบริหารส่วนตำบลเวียงมีประชากรไม่ถึงสองพันคนและไม่สามารถที่จะบริหารงานให้มีประสิทธิภาพในลักษณะองค์การบริหารส่วนตำบลได้ และประชาชนได้แสดงเจตนารมณ์ที่จะยุบรวมกับเทศบาลตำบลเวียงพร้าวที่มีเขตติดต่อกันภายในเขตอำเภอเดียวกัน และโดยที่มาตรา ๔๑ จัตวา แห่งพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัติให้กระทำได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ประกอบกับมาตรา ๑๒…
-
พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองท่าข้าม พ.ศ. 2543
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากเทศบาลตำบลท่าข้าม ซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลตำบลท่าข้าม จังหวัดสุราษฎร์ธานี พ.ศ. ๒๕๒๙ มี สภาพความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมเพิ่มขึ้น สมควรเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาล เมืองท่าข้าม จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้
-
พระราชกฤษฎีกายุบรวมองค์การบริหารส่วนตำบลขุหลุกับเทศบาลตำบลตระการพืชผล และกำหนดเขตเทศบาลตำบลตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. ๒๕๔๕
พระราชกฤษฎีกา ยุบรวมองค์การบริหารส่วนตำบลขุหลุกับเทศบาลตำบลตระการพืชผล และกำหนดเขตเทศบาลตำบลตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. ๒๕๔๕ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นปีที่ ๕๗ ในรัชกาลปัจจุบัน…
-
พระราชกฤษฎีกายุบรวมองค์การบริหารส่วนตำบลวังกะพี้กับเทศบาลตำบลวังกะพี้ และกำหนดเขตเทศบาลตำบลวังกะพี้ จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. ๒๕๔๕
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากองค์การบริหารส่วนตำบลวังกะพี้มีประชากรไม่ถึงสองพันคนและไม่สามารถที่จะบริหารงานให้มีประสิทธิภาพในลักษณะองค์การบริหารส่วนตำบลได้ และประชาชนได้แสดงเจตนารมณ์ที่จะยุบรวมกับเทศบาลตำบลวังกะพี้ที่มีเขตติดต่อกันภายในเขตอำเภอเดียวกัน และโดยที่มาตรา ๔๑ จัตวา แห่งพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัติให้กระทำได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ประกอบกับมาตรา ๑๒…
-
พระราชกฤษฎีการะเบียบพนักงานเทศบาล พ.ศ. ๒๕๑๙
พระราชกฤษฎีกา ระเบียบพนักงานเทศบาล พ.ศ. ๒๕๑๙ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ เป็นปีที่ ๓๑ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ…
-
พระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนชื่อเทศบาลตำบลศรีถ้อย เป็นเทศบาลตำบลเจดีย์หลวง พ.ศ. ๒๕๔๕
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากทางราชการได้เปลี่ยน แปลงเขตปกครองท้องที่ สมควรเปลี่ยนชื่อของเทศบาลตำบลเพื่อให้ตรงกับชื่อของตำบลตามความ เป็นจริง เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนในการติดต่อกับทางราชการ และเป็นไปตามเจตนารมณ์ของ ประชาชนในท้องถิ่น จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้
-
พระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนชื่อเทศบาลตำบลอ่าวอุดม เป็นเทศบาลตำบลเจ้าพระยาสุรศักดิ์ พ.ศ. ๒๕๔๕
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากสมควรเปลี่ยนชื่อ เทศบาลตำบลอ่าวอุดม ให้มีความเหมาะสม เพื่อเป็นการระลึกถึงคุณงามความดีของเจ้าพระยา สุรศักดิ์มนตรี ซึ่งเป็นผู้บุกเบิกและสร้างความเจริญให้กับอำเภอศรีราชา และเป็นไปตามเจตนารมณ์ ของประชาชนในท้องถิ่น จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้
-
พระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนชื่อเทศบาลตำบลเชิงดอย เป็นเทศบาลตำบลดอยสะเก็ด พ.ศ. 2545
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากเทศบาลตำบลเชิงดอย มีแนวเขตคลุมพื้นที่ตำบลเชิงดอย ตำบลป่าป้อง และตำบลลวงเหนือ นอกจากนี้ยังซ้ำกับชื่อของ องค์การบริหารส่วนตำบลเชิงดอย สมควรเปลี่ยนชื่อใหม่ให้เหมาะสม และเป็นไปตามเจตนารมณ์ ของประชาชนในท้องถิ่น จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้ [รก.๒๕๔๕/๖๘ก/๑๓/๒๒ กรกฎาคม ๒๕๔๕]
- พระราชกฤษฎีกา จัดตั้งเทศบาลตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2546
- พระราชกฤษฎีกา จัดตั้งเทศบาลตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2546
- พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองรังสิต พ.ศ. 2546
- พระราชกฤษฎีกา รวมสภาตำบลริมใต้กับเทศบาลตำบลแม่ริมและกำหนดเขตเทศบาลตำบลแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2546
- พระราชกฤษฎีกา จัดตั้งเทศบาลเมืองป่าตอง พ.ศ. 2545
- พระราชกฤษฎีกา จัดตั้งเทศบาลเมืองอ้อมน้อย พ.ศ. 2545
- พระราชกฤษฎีกา จัดตั้งเทศบาลเมืองลัดหลวง พ.ศ. 2545
- พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองบ้านพรุ พ.ศ. 2545
- พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลตำบลบางกระดี อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2546
- พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลตำบลไทรม้า อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2546
- พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2546
- พระราชกฤษฎีกายุบรวมสภาตำบลห้วยราชากับเทศบาลตำบลห้วยราชและกำหนดเขตเทศบาลตำบลห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ. 2546
- พระราชกฤษฎีกายุบรวมสภาตำบลบ้านโต้นกับเทศบาลตำบลบ้านโต้นและกำหนดเขตเทศบาลตำบลบ้านโต้น จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. 2546
- พระราชกฤษฏีกายุบรวมสภาตำบลแวงใหญ่กับเทศบาลตำบลแวงใหญ่และกำหนดเขตเทศบาลตำบลแวงใหญ่ จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. 2546
- พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองบางกรวย พ.ศ. 2545
กฎกระทรวง
ประกาศ
ระเบียบ
ส่งต่อเนื้อหา: