กฏหมายลูกพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พ.ศ. 2456
รายการกฎหมายลูก
พระราชบัญญัติ (ฉบับย้อนหลัง)
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยาม แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2479
พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ ๕) พุทธศักราช ๒๔๗๙ ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร ลงวันที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๗๘) อาทิตย์ทิพอาภา เจ้าพระยายมราช พล.อ.เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน ตราไว้ ณ…
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยาม แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 6) พุทธศักราช 2481
พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ ๖) พุทธศักราช ๒๔๘๑ ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร ลงวันที่ ๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๐) อาทิตย์ทิพอาภา พล.อ. เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน ตราไว้ ณ…
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยาม แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477
พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน้ำไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ นริศรานุวัดติวงศ์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ตามพระราชกฤษฎีกาลงวันที่ ๑๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๖) พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการดำรัสเหนือเกล้าฯ สั่งว่า โดยที่สภาผู้แทนราษฎรถวายคำปรึกษาว่า…
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยาม แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที่ 2)
พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน้ำไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๒) ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร ลงวันที่ ๗ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๗๗) อนุวัตน์จาตุรนต์ อาทิตย์ทิพอาภา เจ้าพระยายมราช…
- พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยาม แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที่ 3)
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2476
พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน้ำไทยแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๖ ประชาธิปก ป.ร. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการดำรัสเหนือเกล้าฯ สั่งว่า โดยที่สภาผู้แทนราษฎรถวายคำปรึกษาว่า สมควรแก้ไขเพิ่มเติมความในมาตรา ๑๖๓ แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พุทธศักราช ๒๔๕๖ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภาผู้แทนราษฎรดังต่อไปนี้ มาตรา…
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2510
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำไทยในส่วนที่เกี่ยวกับ ทางเดินเรือ เขตท่าเรือ เขตจอดเรือ ค่าปรับและค่าธรรมเนียมที่ใช้อยู่ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติดังกล่าว
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2520
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรให้เจ้าท่ามีอำนาจประกาศกำหนดเส้นทางเดินเรือและควบคุมการเดินเรือในเขตท่ากรุงเทพฯ และในแม่น้ำลำคลองเป็นการเฉพาะคราวได้ ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยในการเดินเรือในเขตท่ากรุงเทพฯ และในแม่น้ำลำคลอง อีกทั้งอัตราโทษที่จะลงแก่ผู้ฝ่าฝืนที่มีอยู่เดิมในหมวดที่ ๔ ของภาคที่ ๑ ยังไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน สมควรแก้ไขปรับปรุงอัตราโทษดังกล่าวเสียใหม่ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้น
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2522
พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๒๒ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๒ เป็นปีที่ ๓๔ ในรัชกาลปัจจุบัน…
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2525
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ประเทศไทยกำลังดำเนินการเพื่อเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล ค.ศ. ๑๙๖๐ แต่กฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำไทยยังมีบทบัญญัติบางประการที่ไม่สอดคล้องกับอนุสัญญาดังกล่าว ประกอบกับบทบัญญัติบางมาตราในพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ ไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบัน สมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำไทย เพื่ออนุวัตการให้เป็นไปตามอนุสัญญาดังกล่าวข้างต้นและเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบัน จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นปีที่ ๔๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช…
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ 15) พ.ศ. 2540
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากได้มีการประกาศพระบรมราชโองการกำหนดเขตต่อเนื่องของราชอาณาจักรไทย สมควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ เพื่อขยายอำนาจบังคับการตามกฎหมายดังกล่าวบางประการไปใช้ในบริเวณน่านน้ำดังกล่าวด้วย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ 16) พ.ศ. 2550
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ มีบทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสภาวการณ์ในปัจจุบันอีกทั้งมีผู้ประกอบการและประชาชนบุกรุกแม่น้ำ ลำคลอง ทะเลสาบ ทะเลภายใน และทะเลอาณาเขตเพิ่มมากยิ่งขึ้นอันเป็นเหตุให้เกิดอันตรายทางน้ำ หรือทำให้ทางน้ำได้รับความเสียหายจนไม่สามารถสัญจรไปมาได้ตามปกติ หรือเปลี่ยนแปลงไปจนส่งผลกระทบต่อการเดินเรือ ดังนั้น เพื่อให้มีการกำหนดเขตควบคุมการเดินเรือ และให้อำนาจเจ้าท่าในการกำหนดเขตห้ามจอดเรือหรือแพ รวมทั้งให้กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวีมีอำนาจปักหลักเขตควบคุมทางน้ำที่ชัดเจนและเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ 7) พุทธศักราช 2483
พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ ๗) พุทธศักราช ๒๔๘๓ ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร ลงวันที่ ๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๐) อาทิตย์ทิพอาภา พล.อ. พิชเยนทรโยธิน ตราไว้…
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2490
พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๔๙๐ ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ รังสิต กรมชนชัยนาทนเรนทร พระยามานวราชเสวี ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๓ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๐…
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2493
พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๔๙๓ ในพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รังสิต กรมพระชัยนาทนเรนทร ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๓…
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 (Update ณ วันที่ 01/03/2522)
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ปัจจุบันกฎหมายให้อำนาจเจ้าท่าหรือเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ทำการขจัดสิ่งกีดขวางได้เฉพาะการเดินเรือในเขตท่า หรือในแม่น้ำที่เรือเดินได้ตำบลใด ๆ เท่านั้น ดังนั้น เมื่อมีเรือหรือสิ่งอื่นใดจมลงหรืออาจเป็นอันตรายแก่การเดินเรือนอกเขตท่าและไม่ใช่ในแม่น้ำที่เรือเดินได้ เจ้าท่าหรือเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่จึงไม่มีอำนาจโดยชอบด้วยกฎหมายที่จะทำการขจัดสิ่งกีดขวางนั้นได้ทันท่วงที อันจะเป็นการก่อให้เกิดความเสียหายต่อเศรษฐกิจและการค้าทางทะเลของประเทศ จำเป็นต้องให้อำนาจแก่เจ้าท่าและเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ทำการขจัดสิ่งกีดขวางดังกล่าวได้ตามควรแก่กรณี และให้มีอำนาจขายอดตลาดเรือหรือสิ่งอื่นใดและทรัพย์สินที่อยู่ในเรือหรือสิ่งอื่นใดที่จมลงหรืออาจเป็นอันตรายได้ รวมทั้งให้มีการขจัดหรือป้องกันสิ่งซึ่งก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ในเรือหรือสิ่งอื่นใดนั้นได้ด้วย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้น
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 (Update ณ วันที่ 01/10/2483)
พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ประกาศจงทราบทั่วกันว่า ได้ทรงพระราชดำริเห็นว่า พระราชบัญญัติว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำไทยที่ได้ตราขึ้นไว้ เมื่อวันที่ ๒๕ มิถุนายน รัตนโกสินทร์…
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 (Update ณ วันที่ 04/04/2510)
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำไทยในส่วนที่เกี่ยวกับ ทางเดินเรือ เขตท่าเรือ เขตจอดเรือ ค่าปรับและค่าธรรมเนียมที่ใช้อยู่ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติดังกล่าว
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 (Update ณ วันที่ 09/04/2538)
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากในปัจจุบันผู้ได้รับอนุญาตให้ปลูกสร้างอาคารหรือสิ่งล่วงล้ำลำน้ำได้ใช้อาคารหรือสิ่งล่วงล้ำลำน้ำนั้นประกอบธุรกิจ สมควรแก้ไขอัตราโทษให้เหมาะสมยิ่งขึ้นและกำหนดให้ผู้ได้รับอนุญาตดังกล่าวต้องชำระค่าตอบแทนเป็นรายปีตามวิธีการและอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง ประกอบกับขณะนี้ประเทศไทยได้พัฒนาไปเป็นประเทศอุตสาหกรรมมากขึ้นเป็นผลให้มีการนำเคมีภัณฑ์และสิ่งของต่าง ๆ ที่อาจทำให้เกิดอันตรายขึ้นได้เข้ามาในประเทศเป็นจำนวนมากกว่าที่เป็นมาในอดีต หากไม่มีการควบคุมการนำเข้ามาโดยทางเรือให้เหมาะสมแล้ว อาจก่อให้เกิดอันตรายอย่างกว้างขวางแก่บุคคล สัตว์ สิ่งของ และสิ่งแวดล้อม สมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับอำนาจของกรมเจ้าท่าในการควบคุมการขนส่งสิ่งของที่อาจทำให้เกิดอันตรายได้ และเนื่องจากอัตราโทษสำหรับผู้กระทำผิดตามกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำไทยยังไม่เหมาะสม จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 (Update ณ วันที่ 10/04/2482)
พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ประกาศจงทราบทั่วกันว่า ได้ทรงพระราชดำริเห็นว่า พระราชบัญญัติว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำไทยที่ได้ตราขึ้นไว้ เมื่อวันที่ ๒๕ มิถุนายน รัตนโกสินทร์ ศก…
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 (Update ณ วันที่ 19/01/2515)
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำไทยในส่วนที่เกี่ยวกับ ทางเดินเรือ เขตท่าเรือ เขตจอดเรือ ค่าปรับและค่าธรรมเนียมที่ใช้อยู่ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติดังกล่าว
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 (Update ณ วันที่ 19/09/2520)
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรให้เจ้าท่ามีอำนาจประกาศกำหนดเส้นทางเดินเรือและควบคุมการเดินเรือในเขตท่ากรุงเทพฯ และในแม่น้ำลำคลองเป็นการเฉพาะคราวได้ ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยในการเดินเรือในเขตท่ากรุงเทพฯ และในแม่น้ำลำคลอง อีกทั้งอัตราโทษที่จะลงแก่ผู้ฝ่าฝืนที่มีอยู่เดิมในหมวดที่ ๔ ของภาคที่ ๑ ยังไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน สมควรแก้ไขปรับปรุงอัตราโทษดังกล่าวเสียใหม่ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้น
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 (Update ณ วันที่ 24/01/2490)
พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ประกาศจงทราบทั่วกันว่า ได้ทรงพระราชดำริเห็นว่า พระราชบัญญัติว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำไทยที่ได้ตราขึ้นไว้ เมื่อวันที่ ๒๕ มิถุนายน รัตนโกสินทร์ ศก…
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 (Update ณ วันที่ 24/10/2493)
พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ประกาศจงทราบทั่วกันว่า ได้ทรงพระราชดำริเห็นว่า พระราชบัญญัติว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำไทยที่ได้ตราขึ้นไว้ เมื่อวันที่ ๒๕ มิถุนายน…
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 (Update ณ วันที่ 25/06/2525)
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ประเทศไทยกำลังดำเนินการเพื่อเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล ค.ศ. ๑๙๖๐ แต่กฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำไทยยังมีบทบัญญัติบางประการที่ไม่สอดคล้องกับอนุสัญญาดังกล่าว ประกอบกับบทบัญญัติบางมาตราในพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ ไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบัน สมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำไทย เพื่ออนุวัตการให้เป็นไปตามอนุสัญญาดังกล่าวข้างต้นและเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบัน จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 (Update ณ วันที่ 28/04/2478)
พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ประกาศจงทราบทั่วกันว่า ได้ทรงพระราชดำริเห็นว่า พระราชบัญญัติว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำไทยที่ได้ตราขึ้นไว้ เมื่อวันที่ ๒๕ มิถุนายน รัตนโกสินทร์…
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 (Update ณ วันที่ 28/04/2478)
พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ประกาศจงทราบทั่วกันว่า ได้ทรงพระราชดำริเห็นว่า พระราชบัญญัติว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำไทยที่ได้ตราขึ้นไว้ เมื่อวันที่ ๒๕ มิถุนายน รัตนโกสินทร์ ศก ๑๒๔ นั้น ยังมีบกพร่องอยู่หลายประการ สมควรจะเปลี่ยนแก้ให้สมกับกาลสมัย เพราะฉะนั้นจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้แทน…
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 (Update ณ วันที่ 28/10/2477)
พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ประกาศจงทราบทั่วกันว่า ได้ทรงพระราชดำริเห็นว่า พระราชบัญญัติว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำไทยที่ได้ตราขึ้นไว้ เมื่อวันที่ ๒๕ มิถุนายน รัตนโกสินทร์…
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 (Update ณ วันที่ 29/11/2479)
พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน้ำสยาม พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ประกาศจงทราบทั่วกันว่า ได้ทรงพระราชดำริเห็นว่า พระราชบัญญัติว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำสยามที่ได้ตราขึ้นไว้ เมื่อวันที่ ๒๕ มิถุนายน รัตนโกสินทร์ ศก…
- พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 (Update ณ วันที่ 14/01/2476)
-
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 (Update ณ วันที่ 16/11/2540)
พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ประกาศจงทราบทั่วกันว่า ได้ทรงพระราชดำริเห็นว่า พระราชบัญญัติว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำไทยที่ได้ตราขึ้นไว้ เมื่อวันที่ ๒๕…
พระราชกฤษฎีกา
-
พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดิน ในท้องที่ตำบลหนองกระเบียน ตำบลหนองเมือง ตำบลดอนดึง ตำบลดงพลับ ตำบลบางกะพี้ อำเภอบ้านหมี่และตำบลวังจั่น อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรีให้เป็นเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. ๒๕๕๘
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากในท้องที่ตำบลหนองกระเบียน ตำบลหนองเมือง ตำบลดอนดึง ตำบลดงพลับ ตำบลบางกะพี้ อำเภอบ้านหมี่ และตำบลวังจั่น อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี มีเกษตรกรผู้ไม่มีที่ดินประกอบเกษตรกรรมเป็นของตนเอง หรือมีที่ดินเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพ หรือต้องเช่าที่ดินของผู้อื่นประกอบเกษตรกรรมอยู่เป็นจำนวนมาก สมควรกำหนดเขตที่ดินในท้องที่ดังกล่าวให้เป็นเขตปฏิรูปที่ดิน จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้
กฎกระทรวง
-
กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2534) ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ เนื่องจากการเก็บค่าธรรมเนียมสำหรับใบอนุญาตที่ต้องออกเป็นหนังสือและอัตราค่าธรรมเนียมสำหรับใบอนุญาตดังกล่าวตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๘ (พ.ศ. ๒๕๑๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๓๙ (พ.ศ. ๒๕๒๓) ฯ ยังไม่เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน สมควรปรับปรุงให้เหมาะสมยิ่งขึ้น…
-
กฎกระทรวงเศรษฐการ ว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยาม แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที่ 2)
เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ เนื่องจากพิกัดค่าจ้างนำร่องที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ได้ใช้มาเป็นเวลานานแล้ว ทำให้ไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบัน และสมควรแก้ไขเพิ่มเติมวิธีการเก็บและแบ่งเงินผลประโยชน์ที่ได้มาเนื่องในการนำร่องให้เหมาะสมเพื่อประโยชน์ของรัฐและเป็นธรรมกับผู้นำร่อง นอกจากนี้ สมควรกำหนดให้นายเรือของเรือที่ชักธงไทยที่จะนำเรือเข้าไปในเขตท่าหรือน่านน้ำตามที่กำหนดซึ่งบังคับให้เป็นเขตที่ต้องเดินเรือโดยมีผู้นำร่องสามารถขอรับใบอนุญาตเป็นผู้นำร่องพิเศษเพื่อทำการนำร่องภายในเขตท่าหรือน่านน้ำนั้นๆ ได้ อันจะเป็นการสนับสนุนกิจการพาณิชย์นาวีของประเทศให้ขยายตัวมากขึ้น จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
-
กฎกระทรวงเศรษฐการว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที่ 2)
กฎกระทรวงเศรษฐการ ว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ (ฉะบับที่ ๒)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยาม แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๒) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการออกกฎกระทรวงว่าด้วยการนำร่องไว้…
-
กฎกระทรวงเศรษฐการว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที่ 2) (Update ณ วันที่ 01/01/2485) (ฉบับที่ 3)
กฎกระทรวงเศรษฐการ ว่าด้วยกนำารร่อง ออกตามความในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๒)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๒) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการออกกฎกระทรวงว่าด้วยการนำร่อง…
-
กฎกระทรวงเศรษฐการว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที่ 2) (Update ณ วันที่ 01/04/2490) (ฉบับที่ 4)
กฎกระทรวงเศรษฐการ ว่าด้วยการนำร่อง (ฉบับที่ ๒) ออกตามความในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยาม แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๒)[๑๒] กฎกระทรวงคมนาคม ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๒) (ฉบับที่…
-
กฎกระทรวงเศรษฐการว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที่ 2) (Update ณ วันที่ 01/04/2534) (ฉบับที่ 15)
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ เนื่องจากกฎกระทรวงเศรษฐการ ว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๒) ในส่วนที่เกี่ยวกับการเลื่อนชั้นของผู้นำร่องและจำนวนของผู้นำร่องยังไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์ในปัจจุบัน กล่าวคือ ในปัจจุบันมีเรือเข้าออกในเขตท่าหรือน่านน้ำมากขึ้นกว่าเดิมทุกปี ทำให้ผู้นำร่องแต่ละนายได้รับประสบการณ์ในการนำร่องเรือเพิ่มขึ้นเร็วกว่าเดิม สมควรลดระยะเวลาการนำร่องเรือเพื่อการเลื่อนชั้นของผู้นำร่องลงจากเดิม และขณะนี้ได้มีการสร้างและขยายท่าเรือเพิ่มขึ้น…
-
กฎกระทรวงเศรษฐการว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที่ 2) (Update ณ วันที่ 03/08/2497) (ฉบับที่ 6)
กฎกระทรวงเศรษฐการ ว่าด้วยการนำร่อง (ฉบับที่ ๒) ออกตามความในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยาม แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๒)[๑๓] กฎกระทรวงคมนาคม ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๒) (ฉบับที่…
-
กฎกระทรวงเศรษฐการว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที่ 2) (Update ณ วันที่ 03/08/2497) (ฉบับที่ 7)
หมายเหตุ :- เหตุผลในการออกประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ แก้ไขเกี่ยวกับเงินค่านำร่องนอกเวลา โดยให้กรมเจ้าท่าหักเงินค่านำร่องนอกเวลาที่เก็บได้ไว้ ๗๕ % จ่ายเป็นรางวัลแก่ผู้นร่อง ส่วนเงินที่เหลืออีก ๒๕ % ให้นำส่งเข้าเป็นรายได้ให้ตรงกับวิธีปฏิบัติอันเกี่ยวกับการแบ่งเงินนำร่องนอกเวลาที่ปฏิบัติอยู่เวลานี้
-
กฎกระทรวงเศรษฐการว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที่ 2) (Update ณ วันที่ 04/10/2479) (ฉบับที่ 2)
กฎกระทรวงเศรษฐการ ว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๒)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๒) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการออกกฎกระทรวงว่าด้วยการนำร่อง ไว้ดังต่อไปนี้…
-
กฎกระทรวงเศรษฐการว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที่ 2) (Update ณ วันที่ 06/07/2530) (ฉบับที่ 14)
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ เนื่องจากกฎกระทรวงเศรษฐการ ว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๒) ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๘ (พ.ศ. ๒๕๑๗) ฯ…
-
กฎกระทรวงเศรษฐการว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที่ 2) (Update ณ วันที่ 08/08/2523) (ฉบับที่ 13)
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่กฎกระทรวงเศรษฐการว่าด้วยการนำร่อง ฯ ได้กำหนดให้มีผู้นำร่องที่จะอนุญาตให้ทำการนำร่องได้ไม่เกิน ๕๐ คน และมีผู้ฝึกการนำร่องของรัฐบาลได้ไม่เกิน ๑๐ คน โดยไม่รวมผู้นำร่องพิเศษ บัดนี้ได้มีการกำหนดอัตราเจ้าพนักงานนำร่องโดยสำนักงาน ก.พ. เพิ่มให้กรมเจ้าท่าอีก ๔ ตำแหน่ง สมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงดังกล่าวเพื่อให้เจ้าพนักงานนำร่องมีจำนวนตามอัตราที่เพิ่มขึ้นได้ จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
-
กฎกระทรวงเศรษฐการว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที่ 2) (Update ณ วันที่ 10/09/2536) (ฉบับที่ 16)
เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ เนื่องจากกฎกระทรวงเศรษฐการ ว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๒) ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๗ (พ.ศ. ๒๕๓๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช…
-
กฎกระทรวงเศรษฐการว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที่ 2) (Update ณ วันที่ 13/12/2515) (ฉบับที่ 10)
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ เนื่องจากบทบัญญัติเกี่ยวกับค่าจ้างนำร่องไม่เหมาะสมกับกาลสมัย สมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาวการณ์ในปัจจุบัน จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงฉบับนี้
-
กฎกระทรวงเศรษฐการว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที่ 2) (Update ณ วันที่ 16/09/2518) (ฉบับที่ 12)
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ เนื่องจากเงินค่าจ้างนำร่องที่ทางราชการแบ่งให้แก่ผู้นำร่องตามกฎกระทรวงที่ใช้บังคับอยู่ไม่เหมาะสมกับกาลสมัย สมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงในส่วนที่เกี่ยวกับเรื่องนี้ให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบัน จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
-
กฎกระทรวงเศรษฐการว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที่ 2) (Update ณ วันที่ 17/09/2506) (ฉบับที่ 8)
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ ด้วยค่าจ้างนำร่องตามกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้ำไทยที่จัดเก็บในขณะนี้เป็นอัตราที่ต่ำมาก ไม่คุ้มรายจ่ายที่รัฐต้องใช้ในการนำร่อง จึงจำต้องเพิ่มค่าจ้างนำร่องให้สูงขึ้น และแม้ได้เพิ่มตามอัตราใหม่แล้ว ก็ยังน้อยกว่าอัตราค่าจ้างนำร่องที่ประเทศใกล้เคียงจัดเก็บอยู่ และเพิ่มการกำหนดจำนวนผู้นำร่องให้เหมาะสมกับเหตุการณ์ปัจจุบัน
-
กฎกระทรวงเศรษฐการว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที่ 2) (Update ณ วันที่ 22/07/2490) (ฉบับที่ 5)
กฎกระทรวงเศรษฐการ ว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๒)[๑] อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๒) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการออกกฎกระทรวงว่าด้วยการนำร่อง ไว้ดังต่อไปนี้…
-
กฎกระทรวงเศรษฐการว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที่ 2) (Update ณ วันที่ 23/01/2511) (ฉบับที่ 9)
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ เนื่องจากในปัจจุบันมีความจำเป็นที่กรมเจ้าท่าต้องส่งเจ้าพนักงานนำร่องไปทำการนำร่องเรือนอกเขตการเดินเรือที่บังคับให้ต้องมีผู้นำร่อง และเรียกเก็บค่าจ้างนำร่องในเขตดังกล่าว และผ่อนผันเกี่ยวกับการสอบไล่ผู้ซึ่งจะขอใบอนุญาตเป็นผู้นำร่องพิเศษ จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง
-
กฎกระทรวงเศรษฐการว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำสยามแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที่ 2) (Update ณ วันที่ 29/01/2517) (ฉบับที่ 11)
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ เนื่องด้วยกฎกระทรวงเศรษฐการ ว่าด้วยการนำร่อง ออกตามความในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๒๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๘ ในส่วนที่เกี่ยวกับการกำหนดคุณสมบัติผู้นำร่องและผู้ฝึกการนำร่อง…
ประกาศ
ระเบียบ
ส่งต่อเนื้อหา: