คลังคำสำคัญ ‘พระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พ.ศ. 2485’

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๓๕ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑] (อ่างเก็บน้ำห้วยจระเข้มากในท้องที่ ตำบลบ้านบัว อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์)

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำห้วยจระเข้มาก ในท้องที่ตำบลบ้านบัว อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๒ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำหนองกระทุ่ม ในท้องที่ตำบลชุมพลบุรี อำเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้อง ออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๔ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำพุทธอุทยาน ในท้องที่ตำบลโนนหนามแท่ง และตำบลบุ่ง อำเภออำนาจเจริญ จังหวัดอุบลราชธานี เป็นทางน้ำชลประทานที่เรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการ ชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนด โดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๐ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำบึงกะโตน ในท้องที่ตำบลประทาย อำเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไข เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๘ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำห้วยส้มโฮง ในท้องที่ตำบลกุรุคุ อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๓๑ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำห้วยขี้หนู ในท้องที่ตำบลลำปลายมาศ อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๓๓ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

กฎกระทรวง
ฉบับที่ ๓๓ (พ.ศ. ๒๕๓๕)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง
พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ และมาตรา ๔๒ แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้

ให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำห้วยสะกาด ในท้องที่ตำบลนิคมสร้างตนเอง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ภายในแนวเขตตามแผนที่ท้ายกฎกระทรวงนี้ เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน

ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
อาณัติ อาภาภิรม
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำห้วยสะกาด ในท้องที่ตำบลนิคมสร้างตนเอง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

[เอกสารแนบท้าย]

๑. แผนที่ท้ายกฎกระทรวง ฉบับที่ ๓๓ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕

(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)

พรพิมล/พิมพ์
๒๘ สิงหาคม ๒๕๔๖
พรพิมล/แก้ไข
๑ กันยายน ๒๕๔๖
A+B+C

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำห้วยสะกาด ในท้องที่ตำบลนิคมสร้างตนเอง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๓๕ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำห้วยจระเข้มาก ในท้องที่ตำบลบ้านบัว อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๒ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :-เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่อัตราค่าชลประทานที่เรียกเก็บจากผู้ใช้น้ำจากทางน้ำชลประทานเพื่อกิจการโรงงาน การประปา หรือกิจการอื่นในหรือนอกเขตชลประทาน และการกำหนดหลักเกณฑ์ ระเบียบและวิธีการในการจัดเก็บค่าชลประทาน ตลอดจนการยกเว้นค่าชลประทานที่กำหนดไว้ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๑๘) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันไม่เหมาะสมกับสภาวะการณ์ปัจจุบัน สมควรแก้ไขอัตราค่าชลประทาน และกำหนดหลักเกณฑ์ ระเบียบและวิธีการในการจัดเก็บค่าชลประทาน ตลอดจนการยกเว้นค่าชลประทานเสียใหม่ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ.๒๕๔๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำหนองหญ้าม้า ในท้องที่ตำบลอิตื้อ อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานเพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ.๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง