คลังคำสำคัญ ‘พระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พ.ศ. 2485’

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๔ (พ.ศ.๒๕๔๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำห้วยโพธิ์ ในท้องที่ตำบลห้วยโพธิ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานเพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ.๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๕ (พ.ศ.๒๕๔๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำบึงอร่าม ตำบลยางตลาด อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานเพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ.๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ 46 (พ.ศ.2540) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485

_หมายเหตุ_ เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควร

กำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำชากนอก ในท้องที่ตำบลหนองปรือ และตำบล

ห้วยใหญ่ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่า

ชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา 8 (1)

แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช 2485 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย

พระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2518 บัญญัติให้ทางน้ำชลประทาน

ที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยออกกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออก

กฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๗ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำหนองกลางดง ในท้องที่ตำบลบึง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ.๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียก

เก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยออกกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๘ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำหนองค้อ ในท้องที่ตำบลหนองขาม อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียก

เก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยออกกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๙ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำมาบประชัน ในท้องที่ตำบลหนองปรือและตำบลโป่ง อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ.๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยออกกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๕๐ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำห้วยขุนจิต ในท้องที่ตำบลตะเคียนเตี้ยอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานเพื่อ ให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ.๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยออกกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๕๑ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำมูลบน ในท้องที่ตำบลจระเข้หิน จังหวัดนครราชสีมา เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวงพุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๖๒ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานอ่างเก็บน้ำมูลบน ในท้องที่ตำบลจระเข้หิน จังหวัดนครราชสีมา เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวงพุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๖๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕[๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้ทางน้ำชลประทานคลองบางขนาก จากคลองแสนแสบ ในท้องที่ตำบลบางน้ำเปรี้ยว อำเภอบางน้ำเปรี้ยวจังหวัดฉะเชิงเทรา ผ่านประตูระบายและประตูน้ำบางขนาก ถึงแม่น้ำบางปะกง ในท้องที่ตำบลบางขนาก อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ทางน้ำชลประทานคลองขวาง – เปร็ง – ชวดพร้าวจากคลองบางขนาก ฝั่งซ้ายของคลองขวาง – เปร็ง – ชวดพร้าว ในท้องที่ตำบลบางน้ำเปรี้ยว อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงทรา ฝั่งขวาของคลองขวาง – เปร็ง – ชวดพร้าวในท้องที่ตำบลโพรงอากาศ อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ถึงคลองพระองค์ไชยานุชิต ในท้องที่ตำบลบางบ่ออำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ทางน้ำชลประทานคลองพระองค์ไชยานุชิต จากคลองบางขนากในท้องที่ตำบลบางน้ำเปรี้ยว อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ถึงประตูระบายและประตูน้ำชลหารพิจิตร ในท้องที่ตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ทางน้ำชลประทานคลองนครเนื่องเขต จากคลองพระองค์ไชยานุชิต ในท้องที่ตำบลศาลาแดง อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ผ่านประตูระบายและประตูน้ำท่าไข่ ถึงแม่น้ำบางปะกง ในท้องที่ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา และทางน้ำชลประทานคลองอุดมชลจร จากคลองนครเนื่องเขต ในท้องที่ตำบลศาลาแดง อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ถึงคลองประเวศบุรีรมย์ ในท้องที่ตำบลคลองอุดมชลจร อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้น้ำอย่างเต็มที่ และเนื่องจากมาตรา ๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติให้ทางน้ำชลประทานที่จะเรียกเก็บค่าชลประทานต้องกำหนดโดยกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง